วิธีการเลือกกาวซีเมนต์ปูกระเบื้องให้เหมาะสม

โดยปกติทางบริษัทผู้ผลิตปูนกาว หรือ บริษัท ซิก้า (ประเทศไทย) จำกัด ได้แบ่งประเภทกระเบื้องออกเป็น 3 แบบ กระเบื้องดูดซึมน้ำ  โดยส่วนใหญ่จะเป็นกระเบื้องทั่วไป กระเบื้องดูดซึมน้ำต่ำ โดยส่วนใหญ่จะเป็นกระเบื้องแกรนิตโต้ กระเบื้องไม่ดูดซึมน้ำ โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นแก้ว เช่น กระเบื้องโมเสคแก้ว สามารถทำการทดสอบได้ด้วยตัวเองโดยการหยดน้ำลงไปด้านหลังกระเบื้อง กระเบื้องดูดซึมน้ำ  น้ำจะซึมหายไปภายในระยะเวลาประมาณ 5 วินาที หลังจากหยดน้ำลงไป อย่างรวดเร็ว กระเบื้องดูดซึมน้ำต่ำ น้ำจะซึมหายไป แต่ไม่หมดจะมีน้ำไหลลงพื้นบางส่วน กระเบื้องไม่ดูดซึมน้ำ น้ำจะไม่ซึมบนกระเบื้องเลย เพราะเป็นกระเบื้องทึบน้ำ   กาวซีเมนต์ปูกระเบื้องให้เหมาะสมกับน้ำหนักกระเบื้อง กาวซีเมนต์ติดกระเบื้องทั่วไป Davco AC-2 เป็นกาวซีเมนต์ สำหรับปูกระเบื้องเซรามิกทั่วไป เหมาะกันกระเบื้องขนาดเล็ก กาวซีเมนต์ติดกระเบื้องสำเร็จรูป DAVCO TTB PLUS เป็นกาวซีเมนต์ปูกระเบื้องสำเร็จรูปแบบส่วนผสมเดียว ซึ่งมีส่วนผสมของซีเมนต์กับทรายคัดเกรด และส่วนผสมอื่นๆ เพียงเติมน้ำเข้าไปก็สามารถใช้งานได้ทันที เหมาะกันกระเบื้องขนาดเล็ก กาวซีเมนต์ติดกระเบื้อง แบบมาตรฐาน DAVCO® Granito PLUS เป็นกาวซีเมนต์แบบมาตรฐานชนิดผสมโพลิเมอร์ สำหรับงานปูกระเบื้อง แบบสำเร็จรูปส่วนผสมเดียว…

การใช้งาน LANKO 226 K11 FLEX สำหรับงานระบบกันซึม

การใช้งาน LANKO 226 K11 FLEX สำหรับงานระบบกันซึม การเตรียมพื้นผิว ให้ทำการสกัดพื้นผิวส่วนที่ไม่แข็งแรงหรือหลุดล่อนออกจนเหลือแต่ส่วนที่แข็งแรง ทำความสะอาดพื้นผิวให้ปราศจากคราบสกปรก ฝุ่นผง หรือเศษวัสดุต่างๆ สำหรับคอนกรีตใหม่ควรบ่มพื้นอย่างน้อย 28 วันและถ้าเป็นปูนฉาบควรทิ้งพื้นผิวอย่างน้อย 7 วัน สำหรับบริเวณที่เป็นรอยแตกร้าว รู โพรง จะต้องซ่อมแซมให้เรียบร้อยก่อน อาจจะซ่อมด้วย LANKO 731 LANKOREP STRUCTURE บริเวณที่เป็นเหลี่ยมมุม หรือเป็นสัน ต้องลบเหลี่ยมไม่ให้เป็นสัน หรือทำบัวลบมุม บ่มน้ำให้พื้นผิวมีความอิ่มตัวก่อนการทำงาน การเตรียมวัสดุ เทส่วนน้ำยา (Part B) ลงในภาชนะที่เตรียมไว้ก่อน เทส่วนผงปูน (Part A) ลงไปในภาชนะ ใช้เครื่องผสมที่ความเร็วรอบอย่างน้อย 500 รอบต่อนาที ปั่นจนเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน ผสมต่อเนื่องจนเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นทิ้งส่วนผสมไว้สักครู่ก่อนนำไปใช้งาน การทำงาน ทา LANKO 226 K11 FLEX ลงบนพื้นผิวให้ทั่ว ด้วยแปรงหรือเกรียง โดยสามารถทาในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได้ในอัตราส่วนโดยประมาณ 1-1.5…

การใช้งาน LANKO 228 ในการป้องกันการรั่วซึมบริเวณรอยต่อ ของผนังคอนกรีตสำเร็จรูป

การใช้งาน LANKO 228 ในการป้องกันการรั่วซึมบริเวณรอยต่อ ของผนังคอนกรีตสำเร็จรูป มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ทำความสะอาดรอยต่อ ให้ผิวผนังคอนกรีตที่จะทา LANKO 228 ผสม LANKO 228 ใน 1 เซต จะประกอบไปด้วย ผงซีเมนต์เคมี 23 กก. น้ำยาเคมี 10 ลิตร ผสมโดยใช้สว่านพร้อมใบปั่นหากแบ่งผสม จะมีอัตราส่วน ผงซีเมนต์เคมี 2.3 กก. ต่อน้ำยาเคมี 1 ลิตร ระยะเวลาในการผสม 3 – 5 นาที (ห้ามผสมน้ำ หรือสารอื่นเพิ่มโดยเด็ดขาด) ก่อนทาใช้แปรงตีน้ำ สลัดน้ำบริเวณที่จะทาให้ผิวมีความชุ่มชื่น และอิ่มตัว(ในกรณีพื้นต้องไม่มีน้ำขัง) 5.  ทา LANKO 228 รอบแรก ให้ทาครอบรอยต่อข้างละ 5 ซม.ไม่ต้องรอให้รอบแรกแห้งเสริมใส่ ตาข่ายไฟเบอร์เสริมแรง ทันที 6.  การทา LANKO 228…

วิธีการใช้งาน LANKO 700 ปูนนอนชริ้งค์เกราท์ สำหรับงานประกอบแผ่นคอนกรีต

วิธีการใช้งาน LANKO 700 ปูนนอนชริ้งค์เกราท์ สำหรับงานประกอบแผ่นคอนกรีต คอนกรีตไม่แข็งแกร่งสกัดออกให้หมด ล้างทำความสะอาดให้เรียบร้อย ทำการเข้าแบบในการเท พยายามอย่าให้มีรอยรั่วของแบบ หรือช่องที่จะทำให้ LANKO 700 ไหลออกมาได้ ผสมปูน LANKO 700 อัตรา 1 ถุง 25 กิโลกรัม ต่อน้ำสะอาด 3.6 ลิตร ผสมโดยใช้สว่านพร้อมใบปั่น ปั่นในถัวผสม (อาจใช้ถังสีขนาด 18 ลิตร จะผสมได้ 1 ถุงพอดี) ผสมโดยใช้ระยะเวลาปั่น 3 – 5 นาที แนะนำผสมครั้งละ 1 ถุง เพื่อสัดส่วนที่ถูกต้อง ก่อนเทให้ ใช้น้ำสะอาดรดไปที่คอนกรีตเดิมให้ชุ่ม และจนคอนกรีตเดิมอิ่มน้ำ ใช้ภาชนะตักเท สามารถใช้เหล็ก ไม้ หรือ ลวดค่อยๆ กระทุ้ง หรือแหย่ช่วยเพื่อการไหลตัวที่ดีได้ (ไม่ให้ใช้เครื่องจี้คอนกรีต) เมื่อผสมแล้วต้องใช้งาน LANKO 700 ให้หมดภายใน 30…